1. ความหมายของเศษส่วน
1.1 เศษส่วนหมายถึง ส่วนหนึ่งๆ ของจำนวนทั้งหมดที่แบ่งออกเป็นส่วนๆ เท่าๆ กัน เช่นแบ่งแตงโม 1 ผล ออกเป็น 4 ส่วนเท่าๆ กัน แตงโม 1 ซีก หมายถึง 1 ใน 4 ของแตงโมทั้งหมด เขียนแทนด้วย 

1.2 เศษส่วนหมายถึง ส่วนต่าง ๆ ของเซตที่ถูกแบ่งออกเป็นเซตย่อยที่มีจำนวนสมาชิกเท่ากัน เช่น เด็กชาย 2 คน คิดเป็น
=
ของจำนวนเด็กชาย 6 คน


1.3 เศษส่วนหมายถึง การเขียนเลขในรูปของผลหาร โดยมีเศษเป็นตัวตั้งและส่วนเป็นตัวหาร เช่น แบ่งเด็ก 6 คน ออกเป็น 3 กลุ่ม จะได้กลุ่มละกี่คน เขียนแทนด้วย
= 2 คน

2. การใช้สัญลักษณ์แทนเศษส่วน
ส่วนหมายถึง จำนวนทั้งหมดแบ่งออกเป็นส่วนเท่าๆกัน
เศษหมายถึง จำนวนที่ต้องการจากจำนวนที่แบ่งเป็นส่วนๆ
3. วิธีเขียนและอ่านเศษส่วน
1 ใน 2 เขียน
อ่านว่า เศษหนึ่งส่วนสอง

5 ใน 9 เขียน
อ่านว่า เศษห้าส่วนเก้า

ชนิดของเศษส่วน เศษส่วนแบ่งออกเป็น 4 ชนิด
1. เศษส่วนแท้ คือ เศษส่วนที่มีค่าน้อยกว่า 1 หรือตัวเศษมีค่าน้อยกว่าส่วน เช่น 3/4 , 9/10 เป็นต้น
2. เศษส่วนเกิน คือ เศษส่วนที่มีค่ามากกว่า 1 หรือตัวเศษมีค่ามากกว่าส่วน เช่น 3/2 , 10/9 เป็นต้น
3. เศษส่วนคละ คือ เศษส่วนที่มีจำนวนเต็มและเศษส่วนแท้คละกัน เช่น
เป็นต้น

4. เศษซ้อน คือ เศษส่วนที่เศษหรือส่วนเป็นเศษส่วน หรือทั้งเศษส่วนเป็นเศษส่วน เช่น
เป็นต้น

การเขียนเศษเกินในรูปจำนวนคละ
การเขียนเศษเกินในรูปจำนวนคละอาจทำได้โดยการนำตัวส่วนไปหารตัวเศษผลหารที่ได้ จะเป็นจำนวนนับ เศษที่เหลือเป็นตัวเศษโดยมีตัวส่วนคงเดิม |
ตัวอย่างที่ 1 ![]() วิธีทำ ![]() คิดได้จาก ![]() ![]() | ตัวอย่างที่ 2 ![]() วิธีืทำ ![]() ![]() คิดได้จาก ![]() |
การเขียนจำนวนคละในรูปเศษเกิน
2. การเขียนจำนวนคละในรูปเศษเกิน |
การเขียนจำนวนคละในรูปเศษเกินอาจทำได้โดยนำตัวส่วนไปคูณจำนวนนับแล้วบวกกับตัวเศษ ตัวส่วนคงเดิม |
ตัวอย่าง 
วิธีทำ


วิธีทำ



การเปรียบเทียบเศษส่วน
การเปรียบเทียบเศษส่วนที่มีตัวส่วนไม่เท่ากัน ใช้วิธีทำตัวส่วนของเศษส่วนทุกจำนวนให้เท่าักัน แล้วจึงนำมาเปรียบเทียบกัน หรือ อาจใช้วิธีการคูณไขว้ระหว่างตัวเศษและตัวส่วน แล้วนำผลคูณที่ได้มาเปรียบเทียบกัน |
การทำส่วนใ้ห้เท่ากัน จงพิจารณาการเปรียบเทียบ ![]() ![]() ทำตัวส่วนของ ![]() ![]() ![]() ![]() เปรียบเทียบเฉพาะตัวเศษ จะได้ ![]() ดังนั้น ![]() | การคูณไขว้ เมื่อพิจารณาการคูณไขว้ ![]() ![]() จะได้ 3 x 5 และ 2 x 4 เนื่องจาก 3 x 5 > 2 x 4 ![]() ดังนั้น ![]() |
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น